ไก่ฟ้าพญาลอ

ไก่ฟ้าพญาลอ เป็นไก่ขนาดกลางในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา มีขนสวยงาม พบในประเทศไทย, กัมพูชา, ลาว และเวียดนามไก่ฟ้าพญาลอเป็นไก่ฟ้าที่มีความสวยงามที่สุดชนิดหนึ่งของประเทศไทย เป็นไก่ขนาดกลาง ยาวประมาณ 80 ซม. ตัวผู้มีหน้ากากสีแดงสด บนหัวมีเส้นขนแตกพุ่มตรงปลายสีดำเหลือบน้ำเงินยาวโค้งไปด้านหลัง ปากสีเหลืองขุ่น รอบคางใต้หน้ากากลงมามีขนสีดำ ลำตัวด้านบน อก คอ และปีกมีสีเทา ลักษณะเด่นคือ ขนตอนท้ายของลำตัวใกล้โคนหางจะมีสีเหลืองแกมสีทองเห็นได้ชัดเจนขณะกระพือปีกขนคลุมโคนหางมีสีดำเหลือบน้ำเงินขอบสีแดงอิฐซ้อนกันหลายชั้น หางมีสีดำเหลือบเขียวยาวและโค้งลง ขนคลุมปีกมีลายสีดำขอบขาว ท้องสีดำ แข้งสีแดงมีเดือย ตัวเมียหน้าสีแดง บริเวณหน้าอก คอ หลังมีสีน้ำตาลแกมแดง ท้องมีลายเกล็ดน้ำตาลแดงขอบสีขาว ปีกมีสีดำสลับด้วยลายสีขาวตามแนวขวาง หางคู่บนสีดำสลับขาวส่วนคู่ล่างถัดลงมา สีน้ำตาลแกมแดง แข้งสีแดงไม่มีเดือย สล็อตออนไลน์ ในธรรมชาติไก่ฟ้าพญาลอมีนิสัยป้องกันอาณาเขต ตัวผู้ชอบอาศัยอยู่โดดเดี่ยวหรือจับคู่หากินกับตัวเมียในฤดูผสมพันธุ์ ออกหากินตอนกลางวันและขึ้นคอนนอนตามต้นไม้สูงในเวลากลางคืน เป็นไก่ฟ้าที่เลี้ยงง่ายที่สุด ไม่ขี้อาย มักพบเห็นได้ง่ายตามถนนที่ผ่านป่า jumboslot อาหารไก่ฟ้าพญาลอกิน ตัวหนอน แมลงต่าง ๆ ไส้เดือน สัตว์ขนาดเล็ก เมล็ดหญ้า เมล็ดพืช เมล็ดข้าวชนิดต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น ข้าวไรซ์เบอร์รี่ ข้าวเจ้าหอมนิล และข้าวขาวดอกมะลิ

กบอกหนาม

กบอกหนาม (อังกฤษ: Spiny-breasted Giant Frog, ชื่อวิทยาศาสตร์: Paa fasciculispinaเป็นกบชนิดหนึ่งในวงศ์กบนา (Ranidae) พบในประเทศกัมพูชาและประเทศไทย จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามบัญชีรายชื่อสัตว์ป่าคุ้มครอง พ.ศ. 2546 ประวัติกบอกหนามมีการค้นพบในวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2504 และได้รับการตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ในปี พ.ศ. 2513 โดยผู้เชี่ยวชาญชาวอเมริกัน ดร.โรเบิร์ต อิงเกอร์ แห่งพิพิธภัณฑ์ฟิลด์ ชิคาโก สหรัฐอเมริกา ต่อมาได้มีการเปลี่ยนชื่อสกุลจากเดิม Rana ไปเป็น Paa และ Quasipaa ตามลำดับ ปัจจุบัน เก็บรักษาไว้ที่ศูนย์รวบรวมตัวอย่างอ้างอิงทางชีววิทยา สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย slotxo ลักษณะกบชนิดนี้มีรูปร่างโดยทั่วไปคล้ายคลึงกับคางคก โดยมีผิวหนังหยาบ ขรุขระเป็นสันและปุ่ม ลำตัวสีเขียว น้ำตาลจนถึงสีดำ มีจุดประสีน้ำตาลทั่วตัว ในฤดูผสมพันธุ์กบตัวผู้จะมีกลุ่มหนามแหลมสีดำ กลุ่มละ 5-10 อัน กระจายกันอยู่บนแผ่นอกและใต้คาง เมื่อสิ้นฤดูผสมพันธ์หนามเหล่านี้จะหลุดหายไป เหลือเพียงรอยสีคล้ำๆ ตรงตำแหน่งเดิม นิ้วเท้ามีแผ่นหนังยึดอยู่เต็มตลอดนิ้ว และปลายนิ้วเท้ายังขยายพองออกกว้างราวสองเท่าของความกว้างนิ้ว xoslot

กระรอกหน้ากระแต

กระรอกหน้ากระแต (อังกฤษ: Shrew-faced squirrel, Shrew-faced ground squirrel) เป็นกระรอกชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhinosciurus laticaudatus จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Rhinosciurus slotxo กระรอกหน้ากระแต เป็นกระรอกที่มีลักษณะเด่นชัดแตกต่างไปจากกระรอกชนิดอื่น ๆ อย่างเห็นได้ชัด คือ ใบหน้าบริเวณจมูกจะแหลมยาวยื่นออกมาคล้ายสัตว์จำพวกกระแต ซึ่งเป็นสัตว์ในอันดับสัตว์กินแมลง มากกว่าจะเหมือนกระรอกที่เป็นสัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ จัดเป็นกระรอกดินชนิดหนึ่ง มักอาศัยตามลำพังและหากินตามพื้นดิน โดยใช้ลิ้นที่ยาวตวัดกินอาหารได้แก่ แมลงชนิดต่าง ๆ, ไส้เดือนดิน และผลไม้บางชนิด มีหางที่สั้นและเป็นพวงเหมือนขนแปรงขัดขวด ลำตัวสีน้ำตาลเข้ม ใต้ท้องสีขาว มีสีเหลืองแซมบริเวณขอบด้านข้างโดยรอบ ความยาวลำตัว 23 เซนติเมตร ความยาวหางประมาณ 17 เซนติเมตร อาศัยทำรังอยู่ตามโพรงไม้ ตกลูกปีละครั้งเดียว ครั้งละประมาณ 1-2 ตัว xoslot พบกระจายพันธุ์อยู่เฉพาะป่าดิบชื้นในคาบสมุทรมลายูเท่านั้น โดยเฉพาะในบริเวณที่ต่ำโดยเฉพาะในหุบเขาที่มีลำธารน้ำไหล โดยพบตั้งแต่ภาคใต้ของไทยแถบจังหวัดสุราษฎร์ธานีลงไป, มาเลเซีย, สิงคโปร์, บรูไน จนถึงเกาะบอร์เนียวกระรอกหน้ากระแตเป็นกระรอกที่มีข้อมูลทางวิชาการน้อยมาก ด้วยความที่เป็นกระรอกที่หาได้ยากมากที่สุดชนิดหนึ่ง ในประเทศไทย ถูกขึ้นชื่อเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

กระรอกหน้ากระแต

กระรอกหน้ากระแต (อังกฤษ: Shrew-faced squirrel, Shrew-faced ground squirrel) เป็นกระรอกชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhinosciurus laticaudatus จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Rhinosciurus slotxo กระรอกหน้ากระแต เป็นกระรอกที่มีลักษณะเด่นชัดแตกต่างไปจากกระรอกชนิดอื่น ๆ อย่างเห็นได้ชัด คือ ใบหน้าบริเวณจมูกจะแหลมยาวยื่นออกมาคล้ายสัตว์จำพวกกระแต ซึ่งเป็นสัตว์ในอันดับสัตว์กินแมลง มากกว่าจะเหมือนกระรอกที่เป็นสัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ จัดเป็นกระรอกดินชนิดหนึ่ง มักอาศัยตามลำพังและหากินตามพื้นดิน โดยใช้ลิ้นที่ยาวตวัดกินอาหารได้แก่ แมลงชนิดต่าง ๆ, ไส้เดือนดิน และผลไม้บางชนิด มีหางที่สั้นและเป็นพวงเหมือนขนแปรงขัดขวด ลำตัวสีน้ำตาลเข้ม ใต้ท้องสีขาว มีสีเหลืองแซมบริเวณขอบด้านข้างโดยรอบ ความยาวลำตัว 23 เซนติเมตร ความยาวหางประมาณ 17 เซนติเมตร อาศัยทำรังอยู่ตามโพรงไม้ ตกลูกปีละครั้งเดียว ครั้งละประมาณ 1-2 ตัว xoslot พบกระจายพันธุ์อยู่เฉพาะป่าดิบชื้นในคาบสมุทรมลายูเท่านั้น โดยเฉพาะในบริเวณที่ต่ำโดยเฉพาะในหุบเขาที่มีลำธารน้ำไหล โดยพบตั้งแต่ภาคใต้ของไทยแถบจังหวัดสุราษฎร์ธานีลงไป, มาเลเซีย, สิงคโปร์, บรูไน จนถึงเกาะบอร์เนียวกระรอกหน้ากระแตเป็นกระรอกที่มีข้อมูลทางวิชาการน้อยมาก ด้วยความที่เป็นกระรอกที่หาได้ยากมากที่สุดชนิดหนึ่ง ในประเทศไทย ถูกขึ้นชื่อเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า